ศาสนาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส
นิกายโรมันคาทอลิก เป็นศาสนาของกลุ่มประชากรผู้ใช้ภาษาโรแมนซ์หรือภาษาละติน ยกเว้นโรมาเนีย ประชากรนับถือนิกายออร์โธดอกซ์ ประชากรกลุ่มภาษาอื่น เช่น ไอร์แลนด์ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ ออสเตรีย เช็ก สโลวัก ฯลฯ
3.2 นิกายโปรเตสแตนต์ เป็นศาสนาของกลุ่มประชากรในกลุ่มสแกนดิเนเวีย ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย เยอรมนี สหราชอาณาจักร3.3 นิกายออร์โธดอกซ์ เป็นศาสนาของประชากรในประเทศคาบสมุทรบอลข่านและยุโรปตะวันออก เช่น กรีซ บัลแกเรีย มาซิโดเนีย ยูโกสลาเวีย โรมาเนีย รัสเซีย ยูเครน ฯลฯ
วัฒนธรรมของฝรั่งเศสชาวฝรั่งเศสมีวัฒนธรรมการนอนกลางวัน จึงส่งผลให้ประเทศอาณานิคมของฝรั่งเศสชอบนอนกลางวันตามไปด้วย อย่างไรก็ตามในส่วนลึกของวัฒนธรรม คล้ายคลึงกับของอังกฤษและอิตาลีอยู่แล้ว ไม่สามารถแบ่งได้ชัดเจนเด่นชัด เช่น การจับมือ ภาษา เป็นต้น เนื่องจากชนพื้นเมืองเป็น ชนผิวดำ และสีผิว จึงได้วัฒนธรรมตามกันมา
ชาวฝรั่งเศสมีวัฒนธรรมการนอนกลางวัน
จึงส่งผลให้ประเทศอาณานิคมของฝรั่งเศสชอบนอนกลางวันตามไปด้วย
อย่างไรก็ตามในส่วนลึกของวัฒนธรรม คล้ายคลึงกับของอังกฤษและอิตาลีอยู่แล้ว
ไม่สามารถแบ่งได้ชัดเจนเด่นชัด เช่น การจับมือ ภาษา เป็นต้น
สิ่งที่ควรทำ – ไม่ควรทำ
1.คุณสามารถกล่าวทักทายว่าบงชู (Bonjour) ซึ่งหมายถึงสวัสดีตอนเช้า
หรือบงซัว (Bonsoir) ที่หมายถึงสวัสดีตอนเย็น
กล่าวลาเมื่อจะจากไปด้วยคำว่า โอ”เครอ”วัว (Au revoir) ที่แปลว่า ลาก่อน
และกล่าวขอบคุณว่า แม็กซิ (Merci) ได้
2. วิธีทักทายสำหรับคนที่รู้จักกันนั้นคือการแลกจูบแก้มซึ่งกันและกัน ไม่ว่าคู่ทักทายของคุณจะเป็นหญิงหรือชาย ตามงานพิธีต่างๆ ชาวฝรั่งเศสใช้วิธีชนแก้มกันทั้งสองข้าง (la bise) ว่ากันว่าชาวปารีสนิยมแนบแก้มกันถึง 4 ครั้ง ถ้าเป็นเมืองนอกเขตปารีสทำเพียง 2 ครั้ง
3. เมื่อไปรับประทานอาหารตามภัตราคารอย่าตะโกนเรียกบริกรว่า”การ์ซ็อง (garçon)” ที่ตรงกันกับภาษาอังกฤษว่า boy ซึ่งในภาษาฝรั่งเศสถือว่าไม่ สุภาพ ควรเรียกว่าเมอซิเออร์ และกล่าวคำว่า ซิล วู เปล ซึ่งแปลว่ากรุณา เวลาสั่งอาหารหรือขออะไรเพิ่มเติมจึงถือว่าสุภาพและควรถอดหมวก เสื้อคลุม โอเวอร์โค๊ดหรือแจ้กเก็ต เพื่อแสดงความเคารพต่อสถานที่ก่อนทุกครั้ง
4. สนามหญ้าในฝรั่งเศสมีไว้ให้ดูและชื่นชมความเขียวชอุ่ม ห้ามแตะต้องเด็ดขาด ยกเว้นตามสนามหญ้าที่เปิดเป็นสาธารณะ หากคุณละเมิดกฏเข้าไปในสนามหญ้าซึ่งมีป้าย pelouse interdite แปลว่า สนามหญ้าห้ามเข้า กำกับอยู่ ถือว่าคุณทำผิดกฏหมาย
5. เมื่อชาวฝรั่งเศสต้องการโบกมือลาเขาจะยกมือพร้อมกับขยับนิ้วขึ้นลง ๆ
6. รถแท็กซี่ในฝรั่งเศสนั่งได้ 3 คน เฉพาะที่ตรงด้านหลังคนขับเท่านั้นที่นั่งด้านขวามือข้างหน้าคู่กับคนขับ นั้น มักไว้ให้เป็นที่นั่งของสัตว์เลี้ยง
1.คุณสามารถกล่าวทักทายว่าบงชู (Bonjour) ซึ่งหมายถึงสวัสดีตอนเช้า
หรือบงซัว (Bonsoir) ที่หมายถึงสวัสดีตอนเย็น
กล่าวลาเมื่อจะจากไปด้วยคำว่า โอ”เครอ”วัว (Au revoir) ที่แปลว่า ลาก่อน
และกล่าวขอบคุณว่า แม็กซิ (Merci) ได้
2. วิธีทักทายสำหรับคนที่รู้จักกันนั้นคือการแลกจูบแก้มซึ่งกันและกัน ไม่ว่าคู่ทักทายของคุณจะเป็นหญิงหรือชาย ตามงานพิธีต่างๆ ชาวฝรั่งเศสใช้วิธีชนแก้มกันทั้งสองข้าง (la bise) ว่ากันว่าชาวปารีสนิยมแนบแก้มกันถึง 4 ครั้ง ถ้าเป็นเมืองนอกเขตปารีสทำเพียง 2 ครั้ง
3. เมื่อไปรับประทานอาหารตามภัตราคารอย่าตะโกนเรียกบริกรว่า”การ์ซ็อง (garçon)” ที่ตรงกันกับภาษาอังกฤษว่า boy ซึ่งในภาษาฝรั่งเศสถือว่าไม่ สุภาพ ควรเรียกว่าเมอซิเออร์ และกล่าวคำว่า ซิล วู เปล ซึ่งแปลว่ากรุณา เวลาสั่งอาหารหรือขออะไรเพิ่มเติมจึงถือว่าสุภาพและควรถอดหมวก เสื้อคลุม โอเวอร์โค๊ดหรือแจ้กเก็ต เพื่อแสดงความเคารพต่อสถานที่ก่อนทุกครั้ง
4. สนามหญ้าในฝรั่งเศสมีไว้ให้ดูและชื่นชมความเขียวชอุ่ม ห้ามแตะต้องเด็ดขาด ยกเว้นตามสนามหญ้าที่เปิดเป็นสาธารณะ หากคุณละเมิดกฏเข้าไปในสนามหญ้าซึ่งมีป้าย pelouse interdite แปลว่า สนามหญ้าห้ามเข้า กำกับอยู่ ถือว่าคุณทำผิดกฏหมาย
5. เมื่อชาวฝรั่งเศสต้องการโบกมือลาเขาจะยกมือพร้อมกับขยับนิ้วขึ้นลง ๆ
6. รถแท็กซี่ในฝรั่งเศสนั่งได้ 3 คน เฉพาะที่ตรงด้านหลังคนขับเท่านั้นที่นั่งด้านขวามือข้างหน้าคู่กับคนขับ นั้น มักไว้ให้เป็นที่นั่งของสัตว์เลี้ยง
ขนบธรรมเนียมและประเพณีของฝรั่งเศส
![French Greetings (the French kiss)](https://www.iam-tour.com/new/wp-content/uploads/2016/07/French-Greetings-the-French-kiss.png)
![Le Addition](https://www.iam-tour.com/new/wp-content/uploads/2016/07/Tipping-in-France.jpg)
1. French Greetings (the French kiss)
วิธีการทักทายของชาวฝรั่งเศสก็เป็นอย่างหนึ่งที่เพื่อนๆอาจรู้สึกไม่ชิน นอกจากการจับมือแล้ว การจูบกันด้วยแก้มทั้งสองข้างก็เป็นทักทายเช่นกัน หากเป็นเพื่อนสนิทจะจูบแก้มกันสามครั้งขึ้นไป แล้วแต่ธรรมเนียมของแคว้นนั้นๆ
2. Tipping in France
โดยปกติในฝรั่งเศสจะไม่นิยมให้ทิปกัน แต่สำหรับพนักงานที่ให้บริการดีแล้วเราพอใจอยากจะให้ทิป ก็สามารถให้ได้ แต่ควรจะให้อย่างต่ำ 1 ยูโรครับ ถ้าต่ำกว่านี้อย่าให้เลยดีกว่า เพราะจะดูน่าเกลียดแทนที่จะดูดี
3. French cuisine
คนฝรั่งเศสกินอาหารแบบเรียงตามลำดับหรือคอร์ส จบไปทีละคอร์ส โดยทั่วไปจะมี 3 คอร์สคือ entré, plate principal และ cheese course หรือ dessert ถ้าเสิร์ฟแบบเต็มยศก็เพิ่มอีกสามเป็น 6 คอร์สโดยเริ่มจาก aperitif หรือออร์เดิร์ฟ แล้วเป็น entré ซึ่งมักจะเป็นซุป ตามด้วยอาหารจานหลักที่เป็นเนื้อสัตว์ ต่อด้วยสลัดแล้วตามด้วยเนยแข็งสารพัดชนิด ปิดท้ายด้วยของหวานหรือผลไม้พร้อมกับกาแฟ ส่วนขนมปัง ไวน์ และน้ำแร่จะมีเสิร์ฟตลอดเวลาที่กินอาหาร
4. French etiquette at meals
คนฝรั่งเศสใช้มีดและส้อมในการกินอาหารเกือบทุกอย่าง ไม่เว้นแม้กระทั่งเฟร้นฟรายส์ โดยถือมีดด้วยมือขวา และมือซ้ายถือส้อม ไม่มีการเปลี่ยนมือไปมาเหมือนคนอเมริกัน และที่สำคัญจะต้องวางมือไว้บนโต๊ะ ไม่วางไว้บนหน้าตัก นอกจากนี้ยังมีมารยาทบนโต๊ะอาหารอื่นๆที่ควรต้องเรียนรู้อีกมาก
วิธีการทักทายของชาวฝรั่งเศสก็เป็นอย่างหนึ่งที่เพื่อนๆอาจรู้สึกไม่ชิน นอกจากการจับมือแล้ว การจูบกันด้วยแก้มทั้งสองข้างก็เป็นทักทายเช่นกัน หากเป็นเพื่อนสนิทจะจูบแก้มกันสามครั้งขึ้นไป แล้วแต่ธรรมเนียมของแคว้นนั้นๆ
2. Tipping in France
โดยปกติในฝรั่งเศสจะไม่นิยมให้ทิปกัน แต่สำหรับพนักงานที่ให้บริการดีแล้วเราพอใจอยากจะให้ทิป ก็สามารถให้ได้ แต่ควรจะให้อย่างต่ำ 1 ยูโรครับ ถ้าต่ำกว่านี้อย่าให้เลยดีกว่า เพราะจะดูน่าเกลียดแทนที่จะดูดี
3. French cuisine
คนฝรั่งเศสกินอาหารแบบเรียงตามลำดับหรือคอร์ส จบไปทีละคอร์ส โดยทั่วไปจะมี 3 คอร์สคือ entré, plate principal และ cheese course หรือ dessert ถ้าเสิร์ฟแบบเต็มยศก็เพิ่มอีกสามเป็น 6 คอร์สโดยเริ่มจาก aperitif หรือออร์เดิร์ฟ แล้วเป็น entré ซึ่งมักจะเป็นซุป ตามด้วยอาหารจานหลักที่เป็นเนื้อสัตว์ ต่อด้วยสลัดแล้วตามด้วยเนยแข็งสารพัดชนิด ปิดท้ายด้วยของหวานหรือผลไม้พร้อมกับกาแฟ ส่วนขนมปัง ไวน์ และน้ำแร่จะมีเสิร์ฟตลอดเวลาที่กินอาหาร
4. French etiquette at meals
คนฝรั่งเศสใช้มีดและส้อมในการกินอาหารเกือบทุกอย่าง ไม่เว้นแม้กระทั่งเฟร้นฟรายส์ โดยถือมีดด้วยมือขวา และมือซ้ายถือส้อม ไม่มีการเปลี่ยนมือไปมาเหมือนคนอเมริกัน และที่สำคัญจะต้องวางมือไว้บนโต๊ะ ไม่วางไว้บนหน้าตัก นอกจากนี้ยังมีมารยาทบนโต๊ะอาหารอื่นๆที่ควรต้องเรียนรู้อีกมาก
ชุดประจำชาติฝรั่งเศส
![Marie Antoinette](https://www.iam-tour.com/new/wp-content/uploads/2016/07/Costume-national-2.jpg)
![Costume national](https://www.iam-tour.com/new/wp-content/uploads/2016/07/Costume-national.jpg)
ผู้ชายจะสวมวิกที่เรียกว่า Cadogan (กาโดกอง) มีม้วนเป็นหลอดอยู่สองข้าง
รูปทรงของหมวกและการผูกผ้าพันคอของผู้ชาย สวมเสื้อคลุมยาวปิดสะโพก
นุ่งกางเกงรัดขา ใส่ถุงเท้ายาว เสื้อชั้น ในเป็นเชิ้ต
มีจีบระบายที่อกและแขน มีเสื้อตัวสั้น ทับก่อนใส่เสื้อคลุม
ผู้หญิง เป็นเสื้อรัดรูป คอลึก ชุดมีลูกไม้และริบบิ้น รูปทรงกระโปรงบานในลักษณะวงกลม มีโครงในกระโปรงเรียกว่า Doble Panmiers (โดเบลอ ปองมิเยร์) ตกแต่งเป็นผ้าต่วนไหมและกำมะหยี่ กระโปรงจะมีผ่าหน้าและยกหยัก รั้งด้านข้าง ทั้ง 2 ข้างขึ้น ไปพองอยู่ด้านข้าง 2 ข้าง ด้านหลังด้วยการจับจีบเดรฟ มีโครงกระโปรงที่เรียกว่า สุ่มไก่ ทำด้วยโลหะสามารถกางและหุบได้ ทรงผมประดับด้วยไข่มุก ขนนก และดอกไม้
ผู้หญิง เป็นเสื้อรัดรูป คอลึก ชุดมีลูกไม้และริบบิ้น รูปทรงกระโปรงบานในลักษณะวงกลม มีโครงในกระโปรงเรียกว่า Doble Panmiers (โดเบลอ ปองมิเยร์) ตกแต่งเป็นผ้าต่วนไหมและกำมะหยี่ กระโปรงจะมีผ่าหน้าและยกหยัก รั้งด้านข้าง ทั้ง 2 ข้างขึ้น ไปพองอยู่ด้านข้าง 2 ข้าง ด้านหลังด้วยการจับจีบเดรฟ มีโครงกระโปรงที่เรียกว่า สุ่มไก่ ทำด้วยโลหะสามารถกางและหุบได้ ทรงผมประดับด้วยไข่มุก ขนนก และดอกไม้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น